"องค์กรรอบรู้สุขภาพ สง่างาม สมพระเกียรติ"
Monitor ตัวชี้วัด QOF ปีงบประมาณ 2563 >>>
WebLink ข้อมูลบุคลากรสาธารณสุข Nonhr >>>
รายงานสถานการณ์ โควิด-19
อัพเดทข้อมูลล่าสุด : 27/05/2020(ข้อมูลจากกรมอนามัย)
คำแนะนำเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
- การแจกอาหารให้ปลอดภัยในสถานการณ์โควิด-19
- 4 ข้อแนะนำการจัดการน้ำบริโภค ในสถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- แนวทางการปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ บริการฝากครรภ์ ตรวจหลังคลอด ในสถานการณ์ COVID-19
- คำแนะนำในการจัดการสุขาภิบาลน้ำบริโภค สำหรับประชาชน
- คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุ
- คำแนะนำสำหรับการเก็บอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
- การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- การจัดการด้านอาหารและโภชนาการช่วง 14 วันที่ต้องอยู่บ้าน
คำแนะนำสำหรับสถานประกอบการ / พื้นที่สาธารณะ
- คำแนะนำด้านสาธารณสุขสำหรับสถานที่ก่อสร้าง และที่พักคนงานก่อสร้าง
- แนวทางการจัดอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานที่พักหรือโรงแรม กรณีจัดให้เป็นสถานที่ควบคุมเพื่อแยกสังเกตอาการผู้มีความเสี่ยงสัมผัสเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- คำแนะนำด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับตลาดนัด
- คำแนะนำสำหรับพื้นที่จัดบริการอาหารริมบาทวิถี (Street Food)
- แนวทางปฏิบัติตามจรรยาบรรณกระทรวงสาธารณสุข
- คู่มือปฏิบัติงานทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจทุกระดับ MCATT COVID-19
- ข้อบังคับจรรยาบรรณข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560
- ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน สำนักงาน กพ.2552
- พรบ.มาตรฐานทางจริยธรรม 2562
ประกาศผู้ชนะการประกวดราคาการจัดซื้อจัดจ้าง
- รออัพเดท
<<< อัพเดทกิจกรรมวันนี้>>>
วันจันทร์ ที่ 2 มีนาคม 2563 สอน.แม่ปืม รับการตรวจเยี่ยมจากคณะมูลนิธิพัฒนาสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ชมภาพเพิ่มเติม >>>
ก้าวทันโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ
CORONA VIRUS โคโรน่าไวรัส เป็นเชื้อไวรัสที่พบได้ทั้งในสัตว์และคน
มีด้วยกันหลายสายพันธุ์ บางสายพันธุ์ก่อโรคในสัตว์ บางสายพันธ์ก่อโรคในคน
โดยคนที่ติดเชื้อโคโรน่าไวรัสมีอาการได้ตั้งแต่เป็นไข้หวัดธรรมดาไปจนถึงปอดอักเสบติดเชื้อ
รวมถึงโรคปอดอักเสบรุนแรงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่
ที่ก่อโรคปอดอักเสบ (pneumonia) ในเมืองอู่ฮั่น (Wuhan) มณฑลหูเป่ย
(Hubei) ประเทศจีน เริ่มจากช่วงปลายปี ค.ศ. 2019 จนถึงปัจจุบัน
คาดว่าเป็นการติดเชื้อจากสัตว์สู่คน ทั่วโลกก็เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
อ่านต่อ...
ไข้เลือดออก (Denque Hemorrhagic Fever) : DHF
โรคไข้เลือดออกเดงกี ติดต่อกันได้โดยมียุงลายบ้าน
(Aedes aegypti) ,ยุงลายสวน (Aedes albopictus)
เป็นแมลงนำโรคร่วมกับยุงลายบ้าน
เมื่อยุงลายตัวเมียกัดและดูดเลือดผู้ป่วยที่อยู่ในระยะไข้
ซึ่งเป็นระยะที่มีไวรัสอยู่ในกระแสเลือดมาก เชื้อไวรัสจะเข้าสู่กระเพาะยุง
และเพิ่มจำนวนมากขึ้น แล้วเดินทางเข้าสู่ต่อมน้ำลาย
พร้อมที่จะเข้าสู่คนที่ถูกกัดต่อไป
เมื่อยุงที่มีเชื้อไวรัสเดงกีไปกัดคนอื่นก็จะปล่อยเชื้อไปยังคนที่ถูกกัด
ทำให้คนนั้นป่วยได้ อ่านต่อ...
โรคมือ เท้า ปาก Hand Foot Mouth Diseaseโรค
มือ เท้า ปาก ลักษณะสำคัญมักมีไข้นำมาก่อน มีตุ่มเจ็บในปาก
มีผื่นตามตัวเป็นตุ่มพอง ตุ่มเล็กๆ ไม่ใคร่โต ขึ้นตามมือ ฝ่ามือ เท้า
ฝ่าเท้า และที่ก้น อาการเริ่มแรกจะมีไข้ต่ำๆ ไม่สบาย
ปวดเมื่อยตามเนื้อตามตัว (เด็กเล็กๆ มักบอกไม่ได้) และมีอาการเจ็บคอ
หลังจากที่มีไข้ 1-2 วัน ในปากจะมีแผลเปื่อยและเจ็บ
รอยโรคมักจะปรากฏที่ลิ้น และในกระพุ้งแก้ม อ่านต่อ....
Arthralgia ร้อยละ 80 ของอาการปวดข้อในชุมชนเกิดจากการเสื่อมสภาพตามวัย เกิดจากใช้งานอย่างไม่เหมาะสม หรือเกิดร่วมกับการติดเชื้อไวรัสซึ่งที่พบบ่อยก็ได้แก่ไข้หวัดธรรมดา อาการปวดข้อจากสาเหตุดังกล่าวมักไม่รุนแรงและไม่เป็นอันตรายเพียงแต่ต้องการคำแนะนำในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องหรือใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการตามสมควร มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เกิดจากโรคข้ออักเสบหรือที่ชาวบ้านมักเรียกว่าไขข้ออักเสบหรือโรครูมาติสซั่มซึ่งต้องการการรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่องในระยะยาวเพื่อป้องกันหรือลดความพิการที่อาจเกิดตามมาในภายหลัง อ่านต่อ...
อีสุกอีใส พบได้บ่อยในเด็ก แต่พบน้อยในผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคนี้มักไม่เคยเป็นมาก่อนและพบว่าอาการมักรุนแรงหรือมีภาวะแทรกซ้อนมากกว่าที่พบในเด็ก มักพบการระบาดในช่วงตอนปลายฤดูหนาวถึงต้นฤดูร้อน แต่ก็พบได้ประปรายตลอดทั้งปี เด็กที่เป็นจะมีไข้ต่ำๆ อ่อนเพลียและเบื่ออาหาร ส่วนผู้ใหญ่มักจะมีไข้สูง มีอาการปวดเมื่อยตามเนื้อตัวคล้ายไข้หวัดใหญ่ ขณะเดียวกันก็จะมีผื่นขึ้นพร้อมๆ กับวันที่เริ่มมีไข้ หรือ 1 วันหลังมีไข้ โดยในระยะแรกจะขึ้นเป็นผื่นแดงราบก่อน ต่อมาจะกลายเป็นตุ่มนูน มีน้ำใสๆ และคัน ต่อมาอีก 2-3 วันก็จะตกสะเก็ด อ่านต่อ...
โรคมือ เท้า ปาก Hand Foot Mouth Diseaseโรค มือ เท้า ปาก ลักษณะสำคัญมักมีไข้นำมาก่อน มีตุ่มเจ็บในปาก มีผื่นตามตัวเป็นตุ่มพอง ตุ่มเล็กๆ ไม่ใคร่โต ขึ้นตามมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และที่ก้น อาการเริ่มแรกจะมีไข้ต่ำๆ ไม่สบาย ปวดเมื่อยตามเนื้อตามตัว (เด็กเล็กๆ มักบอกไม่ได้) และมีอาการเจ็บคอ หลังจากที่มีไข้ 1-2 วัน ในปากจะมีแผลเปื่อยและเจ็บ รอยโรคมักจะปรากฏที่ลิ้น และในกระพุ้งแก้ม อ่านต่อ....
Arthralgia ร้อยละ 80 ของอาการปวดข้อในชุมชนเกิดจากการเสื่อมสภาพตามวัย เกิดจากใช้งานอย่างไม่เหมาะสม หรือเกิดร่วมกับการติดเชื้อไวรัสซึ่งที่พบบ่อยก็ได้แก่ไข้หวัดธรรมดา อาการปวดข้อจากสาเหตุดังกล่าวมักไม่รุนแรงและไม่เป็นอันตรายเพียงแต่ต้องการคำแนะนำในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องหรือใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการตามสมควร มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เกิดจากโรคข้ออักเสบหรือที่ชาวบ้านมักเรียกว่าไขข้ออักเสบหรือโรครูมาติสซั่มซึ่งต้องการการรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่องในระยะยาวเพื่อป้องกันหรือลดความพิการที่อาจเกิดตามมาในภายหลัง อ่านต่อ...
อีสุกอีใส พบได้บ่อยในเด็ก แต่พบน้อยในผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคนี้มักไม่เคยเป็นมาก่อนและพบว่าอาการมักรุนแรงหรือมีภาวะแทรกซ้อนมากกว่าที่พบในเด็ก มักพบการระบาดในช่วงตอนปลายฤดูหนาวถึงต้นฤดูร้อน แต่ก็พบได้ประปรายตลอดทั้งปี เด็กที่เป็นจะมีไข้ต่ำๆ อ่อนเพลียและเบื่ออาหาร ส่วนผู้ใหญ่มักจะมีไข้สูง มีอาการปวดเมื่อยตามเนื้อตัวคล้ายไข้หวัดใหญ่ ขณะเดียวกันก็จะมีผื่นขึ้นพร้อมๆ กับวันที่เริ่มมีไข้ หรือ 1 วันหลังมีไข้ โดยในระยะแรกจะขึ้นเป็นผื่นแดงราบก่อน ต่อมาจะกลายเป็นตุ่มนูน มีน้ำใสๆ และคัน ต่อมาอีก 2-3 วันก็จะตกสะเก็ด อ่านต่อ...
Maepuem On Google Map
Link หน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง